เกษตร

เกษตร

สวพส. ชู “บ้านปางแก” จังหวัดน่านเป็นชุมชนบนพื้นที่สูงตัวอย่าง ที่คนอยู่ร่วมกับป่าได้อย่างยั่งยืน

บ้านปางแก เป็นหมู่บ้านพี่น้องม้ง  อยู่ในอำเภอทุ่งช้าง จังหวัดน่าน เป็นพื้นที่ต้นน้ำอยู่บนดอยสูงห่างไกล อดีตชาวบ้านทำไร่เลื่อนลอย พืชหลักที่สร้างรายได้คือ กระหล่ำปลี และข้าวโพด หมุนเวียนและขยายพื้นที่ปลูกไปเรื่อยๆ พื้นที่ภูเขาหัวโล้นเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องเพราะมีการบุกรุกป่า แต่ชาวบ้านก็ยังยากจน เรียกได้ว่าเป็นพื้นที่สีแดงที่ยังเข้าไม่ถึงโอกาสในการพัฒนาใดๆ ชาวบ้านยังขาดความรู้ และมีปัญหายาเสพติดในชุมชน ต่อมาในปี 2558 สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) หรือ

Read More
เกษตร

นักวิจัยจุฬาฯ ชี้ ปลูกไม้วงศ์ยางได้เห็ดมูลค่าสูงสร้างรายได้ให้ชาวบ้าน ฟื้นเศรษฐกิจชุมชน

เคยสงสัยไหมว่า ทำไม ผู้ใหญ่จึงมักพูดติดปากว่าให้กิน “หมู เห็ด เป็ด ไก่” เพราะมีประโยชน์ต่อร่างกายทำไมเห็ดจึงถูกจัดหมวดหมู่อยู่กับสัตว์ทำไมไม่อยู่กับพืช ผศ.ดร.จิตรตรา เพียภูเขียว จากภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ไขข้อข้องใจว่า สมัยก่อนคนคิดว่าเห็ดเป็นพืช แต่ความจริงแล้วเห็ดมีวิวัฒนาการหรือมีบรรพบุรุษร่วมกับสัตว์ไม่ใช่พืชเลย จึงไม่แปลกที่เวลาเรากินเห็ดจะมีรสหวานแบบผงชูรส เนื่องจากในดอกเห็ดมีอามิโนแอซิส ที่เรียกว่ากลูตามิสแอซิส รสชาติ

Read More
เกษตร

“ปลูกกาแฟอะราบิกาใต้ร่มเงา” งานวิจัยสู่การพัฒนา สร้างป่า สร้างรายได้ชุมชนบ้านแม่จันหลวง จังหวัดเชียงราย

พื้นที่บ้านแม่จันหลวง บนดอยแม่สลอง จังหวัดเชียงราย เกษตรกรอยู่กันเป็นหย่อมบ้านประมาณ 50 ครัวเรือน อาชีพดั้งเดิมปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ชา กาแฟอาราบิก้า ข้าวไร่ พลับ พลัม(เชอรี่) ประกอบด้วยกลุ่มชาติพันธุ์ ได้แก่ ไทยใหญ่ อาข่า ลั๊วะ ลีซอ ลาหู่ จีนยูนาน

Read More
เกษตร

สวพส. หนุนชุมชนห้วยก้างปลา “ปลูกผักปลอดภัย รายได้งาม ตามพื้นที่ที่ดินจำกัด”

เป้าหมายในการขยายผลสำเร็จโครงการหลวงภายใต้การดำเนินงานของสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) หรือ สวพส. เพื่อพัฒนาให้ชุมชนบนพื้นที่สูงอยู่ดีมีสุขอย่างสมดุลและยั่งยืน โดยใช้องค์ความรู้ ผลงานวิจัย และการพัฒนาแบบองค์รวม ให้มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพภูมิสังคมของพื้นที่ มุ่งเน้นการส่งเสริมพืชทางเลือกใหม่ที่ใช้พื้นที่น้อย แต่ได้ผลตอบแทนสูง เพื่อสร้างรายได้ภายใต้ข้อจำกัดเรื่องพื้นที่ทำกินร่วมกับกระบวนการมีส่วนร่วมของเกษตรกรในพื้นที่และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะการพัฒนากลุ่มเกษตรกรในการปลูกผักอินทรีย์ ส่งผลให้ “ชุมชนห้วยก้างปลา” เป็นชุมชนต้นแบบในการใช้ประโยชน์พื้นที่ที่มีอยู่อย่างจำกัดได้อย่างเต็มศักยภาพ โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวงห้วยก้างปลา มีพื้นที่ดำเนินงานตามขอบเขตพื้นที่ลุ่มน้ำจันครอบคลุม 9 หมู่บ้าน

Read More
เกษตร

43 ปี “อันเนื่องมาจากพระราชดำริ”สร้างสุข สู่รอยยิ้ม และความยั่งยืน

โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริที่กระจายอยู่ทั่วทุกภูมิภาคของประเทศนั้น มีส่วนสำคัญต่อการเสริมแผนงานต่าง ๆ ของรัฐบาลและเกิดประโยชน์ต่อประเทศชาติ ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคง อันเป็นผลจากพระราชกรณียกิจในพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถพิตร สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ที่ทรงวางรากฐาน จวบจนปัจจุบันพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มีพระราชปณิธานในการสืบสาน รักษา และต่อยอดโครงการต่าง ๆ เพื่อให้เกิดประโยชน์ครอบคลุมทุกด้าน

Read More
เกษตร

นักวิจัย มทร.ธัญบุรี ทำสำเร็จ พัฒนา “ก้างปลาหมอคางดำ”เป็นสุดยอดอาหารเสริมบำรุงร่างกาย ลดการแพร่ระบาด

อาจารย์และนักวิจัย คณะการแพทย์บูรณาการ มทร.ธัญบุรี โดยผศ.ดร.พท.ป.วัชระ ดำจุติ อ.ดร.สุริยา ชัยวงค์ และน.ส.ชลิตรา วงษ์นุ่ม คิดค้นและพัฒนาผลิตภัณฑ์เสริมอาหารจากก้างปลาหมอคางดำ ผลงานใหม่ที่ผสานการแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ด้วยการสกัดแคลเซียมจากก้างปลาหมอคางดำ ช่วยเสริมสร้างสุขภาพของผู้บริโภค ทั้งยังช่วยลดการแพร่ระบาดของปลาหมอคางดำที่ส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศทางน้ำ และอยู่ระหว่างการจดอนุสิทธิบัตรกรรมวิธีการผลิต ผศ.ดร.พท.ป.วัชระ ดำจุติ หนึ่งในผู้วิจัย จากคณะการแพทย์บูรณาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

Read More
เกษตร

ยางหักวันนี้ อุดมสมบูรณ์ด้วยน้ำพระราชหฤทัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

พื้นที่ตำบลยางหัก​ จังหวัดราชบุรี​ แห่งนี้​ เป็นพื้นที่ที่อยู่ติดกับเทือกเขาตะนาวศรี​ รายล้อมด้วยผืนป่าที่อุดมสมบูรณ์​ของอุทยานแห่งชาติ​เฉลิมพระเกียรติ​ไทยประจัน​ ซึ่งอยู่ในกลุ่มป่าแก่งกระจาน แหล่งมรดกโลกทางธรรมชาติ (ที่ได้รับการขึ้นทะเบียนจากยูเนสโก) แต่เชื่อไหมว่า แม้พื้นดินจะอุดมสมบูรณ์​เพียงใด ในอดีตผู้คนที่นี่ต่างเคยเดือดร้อนเพราะไม่สามารถเพาะปลูกพืชผักผลไม้บริโภคในครอบครัวได้เพียงพอ …การเข้าป่า ทำไร่เลื่อนลอย ปลูกพืชเชิงเดี่ยว ซึ่งเป็นการทำลายสภาพดินและป่าจึงเกิดขึ้น… เพราะอะไรที่ทำให้พื้นที่ตำบลยางหักแห่งนี้ สามารถเพาะปลูกพืชผักผลไม้ได้อย่างหลากหลาย รสชาติดี และปลูกได้ตลอดทั้งปี เราขอชวนคุณมาร่วมหาคำตอบจากคนในพื้นที่ได้ที่

Read More
เกษตร

ผลการประเมิน ITA สวพส. ติด Top 3 ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์และหน่วยงานประเภทองค์การมหาชนมุ่งประโยชน์สุขเพื่อชุมชนบนพื้นที่สูง ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต

สำนักงาน ป.ป.ช. ได้ประกาศผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ หรือการประเมิน ITA ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 โดย สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) หรือ สวพส. ได้ 95.26 คะแนน ระดับ “ผ่านดี” เพิ่มขึ้น 5.80

Read More
เกษตร

สวพส. เปิดงาน สืบสานการพัฒนาพื้นที่สูงอย่างยั่งยืน ปี 2567 ประชาชนอยู่ดี พื้นที่สูงมั่นคง เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาส พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 28 กรกฎาคม 2567

สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) หรือ สวพส. จัดงาน สืบสานการพัฒนาพื้นที่สูงอย่างยั่งยืน ปี 2567 “ประชาชนอยู่ดี พื้นที่สูงมั่นคง” เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 28 กรกฎาคม 2567 โดยนายชวลิต ชูขจร ประธานกรรมการสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง

Read More
เกษตร

ลำสินธุ์ จ.พัทลุง ความสงบ อากาศ อาหาร ป่าและน้ำจากธรรมชาติที่ครบสมบูรณ์ที่สุดแห่งหนึ่งในเมืองไทย

อยากรู้ไหมว่าทำไมลำสินธุ์ตำบลเล็ก ๆ ในจังหวัดพัทลุง ถึงได้ชื่อว่า เป็นชุมชนท่องเที่ยวและเมืองที่น่าอยู่แห่งหนึ่งของเมืองไทย ?? ลำสินธุ์​ เป็นตำบลที่ตั้งอยู่ในจังหวัดพัทลุง เขตพื้นที่แนวเทือกเขาบรรทัด ในอดีตชาวลำสินธุ์อยู่ห่างไกลจากพื้นที่ต้นน้ำ ต้องเผชิญกับปัญหาการขาดแคลนน้ำกินน้ำใช้เพราะหมู่บ้านที่อยู่ห่างไกล ต้องนำน้ำจาก  ลำคลองหรือขุดบ่อบาดาลมาใช้ ชีวิตผู้คนที่นี่ลำบากมากเพราะน้ำไม่สะอาดและไม่เพียงพอ ปัจจุบัน ลำสินธุ์กลับกลายเป็นเมืองที่น่าอยู่แห่งหนึ่งของเมืองไทย และได้กลายมาเป็นชุมชนท่องเที่ยว รวมถึงมีผลิตภัณฑ์อาหารขึ้นชื่อที่สร้างรายได้ให้ชาวลำสินธุ์ …เพราะอะไรที่ทำให้ตำบลลำสินธุ์เปลี่ยนแปลงไปได้มากขนาดนี้ ชวนคุณมาร่วมหาคำตอบจากคนในพื้นที่ได้ที่

Read More